เมนู

5. เหตุธรรมที่เป็นปณีตธรรมเป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม
ที่เป็นมัชฌิมธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

3. อธิปติปัจจัย


[316] 1. เหตุธรรมที่เป็นหีนธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม
ที่เป็นหีนธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
2. เหตุธรรมที่เป็นมัชฌิมธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุ-
ธรรมที่เป็นมัชฌิมธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
3. เหตุธรรมที่เป็นมัชฌิมธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุ-
ธรรมที่เป็นหีนธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
4. เหตุธรรมที่เป็นปณีตธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม
ที่เป็นปณีตธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
5. เหตุธรรมที่เป็นปณีตธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม
ที่เป็นมัชฌิมธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

4. อนันตรปัจจัย


[317] 1. เหตุธรรมที่เป็นหีนธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม
ที่เป็นหีนธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย มี 2 วาระ.
3. เหตุธรรมที่เป็นมัชฌิมธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุ-
ธรรมที่เป็นมัชฌิมธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย มี 2 วาระ.
5. เหตุธรรมที่เป็นปณีตธรรม เป็นปัจจัยแก่เหตุธรรม
ที่เป็นปณีตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย มี 2 วาระ.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม


[318] นเหตุปัจจัย มี 3 วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี 5 วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี 5 วาระ ในอนันตรปัจจัย มี 16 วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี 6 วาระ ในสหชาตปัจจัย มี 3 วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี 3 วาระ ใน
นิสสยปัจจัย มี 3 วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี 8 วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย
มี 3 วาระ.

ปัจจนียนัย


[319] ในนเหตุปัจจัย มี 8 วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี 8 วาระ
ฯลฯ

อนุโลมปัจจนียนัย


[320] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี 3 วาระ... ฯลฯ

ปัจจนียานุโลมนัย


[321] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี 5 วาระ... ฯลฯ
แม้ปัญหาวาระในกุสลติกะฉันใด พึงให้พิสดารฉันนั้น.